Skip to content Skip to sidebar Skip to footer

Knowledge

ความรู้ ทั้งอัพเดท และ How to การเลี้ยงดูลูก รวมถึงการดูแลตัวเอง ฉบับคุณแม่ คุณพ่อ ยุคใหม่ ที่ครบคลุมตั้งแต่ ช่วงตั้งครรภ์ จนถึง ลูกอยู่ในวัยประถม

หลักการเลือกหน้ากากอนามัยสำหรับเด็กเล็กและเด็กโต

การสวมหน้ากากอนามัยในเด็ก (Mask for Children) ในยุคที่มีการแพร่ระบาดของไวรัสที่เป็นอันตราย การสวมหน้าการอนามัยในเด็กจัดเป็นวิธีมาตรฐานที่ช่วยลดการกระจายของเชื้อโรค กุล่มเด็กทารกแรกเกิด และเด็กเล็กจัดเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ต้องให้ความสำคัญในการป้องกันเป็นพิเศษ แต่ด้วยสรีระของทางเดินหายใจและกลไกการหายใจที่แตกต่างจากผู้ใหญ่ คุณพ่อคุณแม่ควรเลือกหน้ากากอนามัยให้เหมาะสมกับช่วงอายุของเด็กค่ะ เด็กแรกเกิด - 1 ปี หากไม่จำเป็น ไม่ควรสวมหน้ากากอนามัยให้เด็กช่วงนี้ เนื่องด้วยระบบหายใจที่ไม่แข็งแรงพอ การใช้หน้ากากอนามัย เด็กน้อยอาจอยู่ในความเสี่ยงกับภาวะคาร์บอนไดออกไซด์คั่งเกิดอันตรายต่อระบบประสาทของเบบี๋ได้ ยิ่งวัสดุพลาสติกบังหน้าเบบี๋ (Face Shield) ไม่ควรนำมาใช้อย่างยิ่ง เพราะความคมของพลาสติกอาจบาดใบหน้าหรือดวงตาเด็กได้  ยิ่งมีเชือกหรือสายรัดใดๆ ก็ไม่ควรค่ะ เพราะอาจมีโอกาสสุ่มเสี่ยงสายพันรอบคอเบบี๋ ทำให้ขาดอากาศหายใจได้ ดูแลอย่างไร : เน้น เว้นระยะห่างจากผู้อื่นอย่างน้อย 2 เมตร งดการหอมแก้ม หรือสัมผัสใกล้ชิดกับเด็กโดยไม่จำเป็น ในกรณีที่ต้องออกนอกบ้าน ผู้ปกครองควรอุ้มเด็กแนบกับอก หรือใส่รถเข็นที่มีผ้าคลุมปิด เด็กอายุ 1 - 2 ปี ยังเป็นวัยที่ไม่ควรพาไปยังชุมชนนัก และไม่ควรใส่หน้ากากเป็นเวลานาน  แต่หากต้องออกนอกบ้าน คุณพ่อคุณแม่ควรเลือกหน้ากากที่มีการระบายอากาศที่ดี หายใจสะดวก พอดีกับใบหน้า เพราะเด็กในช่วงวัยนี้ เป็นวัยที่สามารถดึง ถอดออกเองได้ หากเค้ารู้สึกไม่สบายหน้า…

Read more

หน้ากากอนามัย สไตล์ญี่ปุ่น ใส่สบาย ไม่เจ็บหู MiniCare

ช่วงนี้อากาศแย่หนัก ทั้งค่า PM.2.5 ที่หนักขึ้นหรือแม้กระทั่งไวรัส Covid-19 ตัวร้ายที่แพร่ระบาดหนักอีกรอบ หน้ากากอนามัยที่มีพลังป้องกันได้ทั้ง PM 2.5 และ ป้องกันการติดเชื้อ Covid-19 ขอแนะนำ หน้ากากอนามัย สไตล์ญี่ปุ่น ที่ใส่สบาย ไม่เจ็บหู เด็กๆ ชอบ  “Mini Care Mask” Disposable Mask for Child with wide Earloop คุณสมบัติของ “Mini Care Mask” Disposable Mask for Child with wide Earloop ดังนี้ มีชั้นกรอง 3 ชั้น (3 Layers Filtration Enjoy Fresh Air) เนื้อผ้าของหน้ากาก เป็นผ้า แนว Nonwovens ระบายความร้อนได้ดี…

Read more

7 วิธีป้องกันลูกน้อยจากมลพิษ ฝุ่น PM 2.5

เด็กตัวเล็กๆ มักจะได้รับผลกระทบต่อร่างกายจากฝุ่นละออง PM2.5 มากกว่าผู้ใหญ่มากค่ะ  จริงๆกระทบตั้งแต่อยู่ในครรภ์แล้ว ดังนั้นคุณแม่ตั้งครรภ์ ต้องดูแลตัวเองเป็นพิเศษ ยิ่งเด็กแรกเกิดต้องดูแลใกล้ชิด เด็กเล็กแต่ละวัยอีก เพราะเด็กในช่วงร่างกายกำลังเติบโต PM.2.5 คืออันตรายที่ผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพในระยะยาวอีกดังนั้น พ่อคุณคุณแม่ยุคฝุ่น PM.2.5 มาป้องกันลูกกันค่ะ ด้วย 7 วิธี ดังนี้ ฝึกลูกสวมหน้ากากกรองฝุ่นละออง ที่ได้มาตราฐานให้ลูก สิ่งจำเป็นอันดับแรกของการสู้ PM.2.5 สิ่งนี้ต้องมี ของมันต้องมี คุณพ่อคุณแม่ พยายามให้ลูกสวมหน้ากากกรองฝุ่นละออง โดยเฉพาะช่วงเช้าเวลาเดินทางไปโรงเรียน หรือออกไปภายนอกบ้าน เนื่องจากเป็นช่วงที่ค่าฝุ่นละอองลอยในอากาศเป็นจำนวนมาก แต่เด็กๆ มักรำคาญ และไม่ยอมสวมหน้ากาก คุณพ่อคุณแม่ต้องตรวจสอบว่าสาเหตุเป็นจากอะไร หากเป็นด้วยตัวผลิตภัณฑ์ ที่ไม่สบาย หายใจลำบาก อึดอัด รัดแน่นหน้าเกินไป ก็เปลี่ยนที่ตัวผลิตภัณฑ์  สำคัญที่สุดคือ คุณพ่อคุณแม่จะต้องอดทน และสอนให้ลูกเข้าใจ ให้ลูกตระหนักและอุ่นใจ หากมีหน้ากากป้องกัน PM.2.5 ใส่ก่อนออกจากบ้าน ควรดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพอต่อวัน  มาตราฐานคือไม่ต่ำกว่า 6 แก้วต่อวัน การดื่มน้ำให้เพียงพอ นอกจากร่างกายจะได้ประโยชน์อย่างมากแล้ว น้ำยังไปช่วยกำจัดสิ่งสกปรกภายในร่างกายให้ออกไปได้ค่ะ โดยเด็กๆ…

Read more

6 แนวทาง ฝึกลูกใช้หน้ากากอนามัย ให้เคยชิน

เมื่อมนุษย์โลกยังคงต้องเผชิญต่อเชื้อไวรัสร้ายอย่าง Covid-19 หรือฝุ่นละอองที่ล่องลอยทำร้ายสุขภาพอยู่ทุกวัน  ผู้ใหญ่หลายๆ คนบางครั้งยังต้านทานไม่ได้ แล้วร่างกายบางๆ จิ๋วๆ อย่างเด็กเล็กๆ จะทนทานได้อย่างไร  เป็นอีกเรื่องปวดใจของคุณพ่อคุณแม่ จริงไหมคะ เมื่อโลกต้องเผชิญกับโลก เมื่อเราต้องอยู่กับมัน แบบป้องกัน และระวัง มาฝึกลูกให้ใส่หน้ากากอนามัยให้เค้าเคยชินกันค่ะ  ฝึกอย่างไร มีแนวทางทั้งสิ้น 6 แนวทางด้วยกัน บางบ้านอาจใช้เพียง 1-2 แนวทาง ลูกๆ ก็ติดนิสัยสวมหน้ากากแล้ว แต่หลายบ้านอาจใช้ทั้ง 6 ก็ได้  คุณพ่อคุณแม่ลองทดลองดูค่ะ แนวทางที่ 1 ใส่กันทั้งบ้านเผื่อไม่ให้เด็กรู้สึกโดดเดี่ยว แปลกแยก คุณพ่อคุณแม่หรือผู้ปกครองควรสวมหน้ากากด้วย แบบร่วมด้วยช่วยกัน ไปไหนไปกัน แนวทางที่ 2 ฝึกให้ชินกับการพูดใต้หน้ากากอนามัย  ขณะสวมหน้ากากลองให้เด็กส่องกระจกและพูดคุย ชวนคุยองศาหน้าที่ขยับ ทั้งนี้ เพื่อให้ชินและไม่รำคาญเมื่อต้องพูดภายใต้หน้ากาก แนวทางที่ 3 ลองสวมหน้ากากให้กับตุ๊กตา หรือ วาดรูปหน้ากากบนการ์ตูนที่เด็กชอบ แนวทางที่ 4 ให้เด็กๆ ดูรูปเพื่อนรุ่นราวคราวเดียวกันที่สวมหน้ากาก อาจเป็นภาพแฟชั่นหน้ากากสำหรับเด็ก แนวทางที่ 5 เล่นตกแต่งหน้าการให้เป็นรูปต่างๆ…

Read more

5 แนวทางสร้างพื้นที่ปลอดภัย ป้องลูกจาก Covid-19

ตลอดปี 2020 มานี้ ประชากรทั้งโลกเผชิญกับไวรัสตัวร้าย Covid-19 ที่สถิติมีอันดับสูงขึ้นๆ ในขณะที่ทีมวิจัยก็เร่งในการสร้างวัคซีน ในระหว่างนี้ ชีวิตก็ต้องดำเนินต่อไป ทั้งการดูแลตัวเองให้รอดปลอดภัยจากไวรัสร้ายนี้  ผู้ใหญ่ก็มีหลักป้องปันที่ปฎิบัติได้แบบเป็นกฎเกณฑ์ แต่สำหรับเด็กเล็กๆ พ่อแม่ต้องดูแลทุกสิ่งรอบตัว สร้างพื้นที่ปลอดภัย หาทางปกป้องลูกน้อยกันสุดฤทธิ์ค่ะ อาการของเด็กเล็กที่ติดเชื้อ Covid-19  กลุ่มเด็กที่เสี่ยง และหากติดเชื้อจะอันตรายมากคือ เด็กทารกจนถึงเด็กเล็กอายุไม่เกิน 5 ปี   หากติดเชื้อลักษณะอาการจะเหมือนเป็นไข้หวัดใหญ่ มีอุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 37.5 °C ร่วมกับมีอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น เจ็บคอ ไอ มีน้ำมูก หายใจเร็ว หรือหายใจหอบเหนื่อย ร่วมกับในช่วง 14 วันที่ผ่านมามีประวัติเดินทางไปหรือมาจากพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้อนี้อย่างต่อเนื่อง หรือเด็ก ๆ อาจจะมีประวัติสัมผัสกับผู้ที่เข้าข่ายสงสัยหรือยืนยันว่ามีการติดเชื้อไวรัส COVID-19 โดยเฉพาะผู้ที่อาศัยในบ้านเดียวกัน หรือมีประวัติไปในที่ชุมชน เช่น ตลาดนัด ที่ขนส่งสาธารณะ ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น 5 แนวทางสร้างพื้นที่ปลอดภัย ป้องลูกจาก Covid-19 เผื่อคุณพ่อคุณแม่จะได้ฝึกลูกน้อยให้เป็นนิสัย อย่างน้อยเพื่อความปลอดภัย เพื่อความมั่นใจในเวลาที่ลูกอยู่ที่โรงเรียน หรือ…

Read more

ลูกน้อยท้องผูก ภาวะอันตรายที่พ่อแม่ไม่ควรมองข้าม

สาเหตุที่มักทำให้ลูกน้อยเกิดอาการท้องผูกในเด็กเล็กๆ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นได้ตั้งแต่เด็กอายุ 1 เดือน สาเหตุที่ทำให้ท้องผูกได้แก่ 1. ไม่ได้ทานนมแม่ หากลูกน้อยไม่ได้ทานนมแม่ แต่ได้รับนมผสมสูตรที่อาจไม่เหมาะกับสภาพลำไส้ ก็อาจท้องผูกได้ เพราะในนมแม่มีใยอาหารที่ช่วยเสริมสุขภาพลำไส้ ทำให้ขับถ่ายง่าย 2. ได้รับน้ำน้อยเกินไป เด็กเล็กก็คล้ายๆผู้ใหญ่ค่ะ เมื่อขาดน้ำหรือได้รับน้ำน้อยเกินไป ก็จะทำให้อุจจาระแห้งแข็ง เป็นสาเหตุให้ถ่ายยาก ถ่ายไม่คล่องและท้องผูกในที่สุด 3. มีการเปลี่ยนนมหรือชนิดของอาหารเสริม ในกรณีที่มีการเปลี่ยนอาหารทั้งนมผงสูตรใหม่ ยี่ห้อใหม่ ทารกจะต้องใช้เวลาในการปรับตัวกับอาหารใหม่เนื่องจากระบบการย่อยของเด็กเล็ก ๆ ยังทำงานไม่สมบูรณ์อาจจะมีอาการท้องผูกได้ 3. เกิดจากอาการป่วยของลูก การเจ็บป่วย เช่น เป็นไข้หวัด ตัวร้อน บางครั้งก็อาจทำให้เกิดอาการท้องผูกได้ เนื่องจากการขาดน้ำ เมื่อหายจากอาการป่วย อาการท้องผูกก็มักจะหายไป 4. เกิดจากกรรมพันธุ์ ในครอบครัวถ้าคุณพ่อคุณแม่มีประวัติถ่ายยากและท้องผูกบ่อย ทารกก็อาจจะท้องผูกได้ง่าย 5. เกิดความผิดปกติของระบบขับถ่ายหรือลำไส้ เกิดจากความผิดปกติของลำไส้หรือระบบขับถ่าย ภาวะลำไส้โป่งพองแต่กำเนิด ในกรณีนี้ต้องพาลูกน้อยไปพบแพทย์ 6. ทารกคลอดก่อนกำหนด เมื่อทารกคลอดก่อนกำหนดระบบย่อยอาหารยังพัฒนาไม่สมบูรณ์ก็อาจท้องผูกได้ 7. เกิดจากแพ้อาหารผ่านคุณแม่ คุณแม่ในช่วงให้นมบุตร รับประทานอาหารบางชนิด ก็จะอาจส่งผลผ่านไปถึงน้ำนมที่ลูกได้รับ ทำให้ท้องผูกได้เช่นกัน วิธีสังเกตว่าลูกท้องผูกหรือไม่…

Read more

ภาวะติดเชื้อในเบบี๋ภัยเงียบ ใกล้ตัวที่ต้องเฝ้าระวัง

เด็กเล็กๆ ทารกตั้งแต่แรกเกิดไปจนถึง 1 ขวบ เป็นช่วงเวลาที่คุณพ่อคุณแม่ต้องใส่ใจมากเป็นพิเศษจริงๆค่ะ ด้วยเพราะภูมิคุ้มกันของเขายังต่ำมากๆ มีความเสี่ยงที่สูงมาก ต่อการติดเชื้อจากไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคอันตรายหลายๆ โรค อย่างเช่น RSV ที่ตอนนี้ ระบาดหนักในเด็กเล็กค่ะ ไวรัส และ แบคทีเรียที่มีอยู่มากมาย นอกจากสร้างเชื้อเพาะร้ายแล้ว อาจรุกรามไปจนถึงขั้นติดเชื้อในกระแสเลือด ซึ่งอันตรายมาก เนื่องจากอาจทำให้ลูกน้อยพิการ หรือรุนแรงถึงเสียชีวิต  ดังนั้นคุณพ่อคุณแม่จึงต้องตื่นตัวคอยสังเกตอาการ รวมถึงป้องกันลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่จะทำให้ลูกติดเชื้อให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ค่ะ อาการของการติดเชื้อในกระแสเลือด อาการของเด็กทารกที่ติดเชื้อในกระแสเลือดจะค่อนข้างหลากหลาย เช่น มีไข้สูง ตัวเย็น เซื่องซึม เบื่ออาหาร หอบเหนื่อย และอาเจียน ซึ่งอาจเป็นสัญญาณของโรคอื่นๆ หรือการติดเชื้อในกระแสเลือดได้ทั้งนั้น เพราะฉะนั้นเมื่อลูกน้อยมีอาการข้างต้น คุณพ่อคุณแม่อย่าวินิจฉัยและรักษาด้วยตัวเอง ควรพามาพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของอาการป่วย หากลูกน้อยเกิดการติดเชื้อแล้วต้องทำอย่างไร พบแพทย์ คือคำตอบที่ดีที่สุดค่ะ และปฎิบัติตามที่คุณหมอสั่งอย่างเคร่งครัดที่สุดค่ะ

Read more

ลูกท้องผูกทำไงดี ลองเจ้าตัวนี้ Fiber Mate kiddy ใยอาหารพรีไบโอติกส์แก้ท้องผูกสำหรับเด็ก

ไม่มีอะไรจะกลุ้มใจเท่ากับที่ลูกท้องผูกอีกแล้วจริงไหมคะการขับถ่ายของลูกถือเป็นอีกเรื่องที่สำคัญมากนะคะ  เพราะมีผลต่อพัฒนาการของลูกทั้งทางร่างกาย จิตใจและอารมณ์ ยิ่งช่วงไหนลูกท้องผูกมากก็จะรับประทานอาหารไม่ค่อยได้ อาจส่งผลให้มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ส่วนด้านอารมณ์ก็อาจจะทำให้ลูกนั้นหงุดหงิดง่าย ขาดสมาธิ หรืออาจเป็นเด็กที่ขี้กังวล กลัวการเข้าห้องน้ำไปเลยก็ได้ ทางแก้อาการท้องผูกที่คุณแม่ช่วยแก้ได้ง่าย ๆ คือ การเช็คว่าลูกดื่มน้ำเพียงพอหรือไม่ และทานอาหารที่มี Fiber เพียงพอจริงรึเปล่า โดยเด็กอายุ 7-12 เดือน ควรได้รับน้ำวันละ 800 มล., เด็กอายุ 1-3 ขวบ ควรได้รับน้ำวันละ 1.3 ลิตร และเด็กอายุ 4-8 ขวบ ควรได้รับน้ำวันละ 1.7 ลิตร ซึ่งจะเห็นว่าปริมาณน้ำต่อวันจะต้องเยอะจริงๆถึงจะช่วยให้ลูกขับถ่ายเป็นปกติได้ นอกจากนี้ ไฟเบอร์หรือใยอาหารจากผักก็สำคัญ โดยเด็กๆควรได้รับปริมาณไฟเบอร์เพิ่มมากขึ้นตามอายุ เช่น อายุ 1 ขวบ ควรได้รับไฟเบอร์อย่างน้อยวันละ 6 กรัม แต่ แต่ ... หลายๆ ครั้ง หรือ คุณพ่อคุณแม่ หลาย ๆ บ้าน…

Read more

ภาวะติดเชื้อในเบบี๋ ภัยเงียบ ใกล้ตัวที่ต้องเฝ้าระวัง

เด็กเล็กๆ ทารกตั้งแต่แรกเกิดไปจนถึง 1 ขวบ เป็นช่วงเวลาที่คุณพ่อคุณแม่ต้องใส่ใจมากเป็นพิเศษจริงๆค่ะ ด้วยเพราะภูมิคุ้มกันของเขายังต่ำมากๆ มีความเสี่ยงที่สูงมาก ต่อการติดเชื้อจากไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคอันตรายหลายๆ โรค อย่างเช่น RSV ที่ตอนนี้ ระบาดหนักในเด็กเล็กค่ะ ไวรัส และ แบคทีเรียที่มีอยู่มากมาย นอกจากสร้างเชื้อเพาะร้ายแล้ว อาจรุกรามไปจนถึงขั้นติดเชื้อในกระแสเลือด ซึ่งอันตรายมาก เนื่องจากอาจทำให้ลูกน้อยพิการ หรือรุนแรงถึงเสียชีวิต  ดังนั้นคุณพ่อคุณแม่จึงต้องตื่นตัวคอยสังเกตอาการ รวมถึงป้องกันลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่จะทำให้ลูกติดเชื้อให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ค่ะ อาการของการติดเชื้อในกระแสเลือด อาการของเด็กทารกที่ติดเชื้อในกระแสเลือดจะค่อนข้างหลากหลาย เช่น มีไข้สูง ตัวเย็น เซื่องซึม เบื่ออาหาร หอบเหนื่อย และอาเจียน ซึ่งอาจเป็นสัญญาณของโรคอื่นๆ หรือการติดเชื้อในกระแสเลือดได้ทั้งนั้น เพราะฉะนั้นเมื่อลูกน้อยมีอาการข้างต้น คุณพ่อคุณแม่อย่าวินิจฉัยและรักษาด้วยตัวเอง ควรพามาพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของอาการป่วย หากลูกน้อยเกิดการติดเชื้อแล้วต้องทำอย่างไร พบแพทย์ คือคำตอบที่ดีที่สุดค่ะ และปฎิบัติตามที่คุณหมอสั่งอย่างเคร่งครัดที่สุดค่ะ

Read more

7 วิธีแก้ปัญหาเด็กท้องผูก

คุณพ่อคุณแม่คงจะเคยเจอเหตุการณ์ ลูกท้องผูกหลายวัน อึอึ๊แข็ง ลูกถ่ายยาก หรือ อึอึ๊ มีเลือดปนมาด้วย ต้องเคยเจอปัญหานี้แน่นอน ทำให้ลูกไม่สบายตัว ไม่สบายท้อง งอแง และ มีผลต่อพัฒนาการลูกอีกด้วยค่ะ  คุณพ่อคุณแม่ไม่ควรนิ่งนอนใจ แล้วแบบไหน ที่จะเรียกว่า ลูกท้องผูกแบบไม่ควรนิ่งนอนใจ สังเกตในหนึ่งสัปดาห์ หากลูก อึอึ๊ต่ำกว่า 3 ครั้ง แบบนี้ คุณพ่อคุณแม่ต้องรีบช่วยลูกๆแล้วค่ะ 7 สาเหตุ และ 7 วิธี แก้ปัญหาเด็กท้องผูก เกิดจากกินน้ำน้อยเกินไป คุณพ่อคุณแม่ต้องหมั่นคอยให้ลูกดื่มน้ำเยอะๆ หากเด็กๆไม่ยอมดื่มน้ำจากแก้ว อาจใช้วิธีให้กัดเป็นน้ำแข็งก้อนเล็กๆ หรือจัดน้ำใสภาชนะเก๋ๆ น่ารักๆ ให้เค้าดื่มก็ได้ค่ะ  กินอาหารที่มีเส้นใยอาหารน้อยเกินไป  แก้ได้ด้วยการเพิ่มอาหารเส้นใย เช่น ผัก ผลไม้  สำหรับเด็กที่ไม่ชอบทานผักเลย ผักหากเป็นสีเขียว ลูกอาจจะ ร้องยี้ ! แนะนำว่า เป็นผลไม้ที่เป็นสีๆ หากเป็นผลไม้ก็จำพวก องุ่น ส้ม มะละกอ เชอร์รี่ ลูกพรุน แก้วมังกร…

Read more